บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2018

ตัวอย่างโปรโตคอลที่ทำงานใน OSI Model Session Layer,Presentation Layer,Application Layer

4.Session Layer ASP   AppleTalk Session Protocol ADSP   AppleTalk Data Stream Protocol iSNS   Internet Storage Name Service 5.Presentation Layer Apple Filing Protocol  (AFP) Network Data Representation  (NDR) Lightweight Presentation Protocol   (LPP) 6.Application Layer SMTP (Simple Mail Transfer Protocol) FTP (File Transfer Protocol) POP (Post Office Protocol)

ตัวอย่างโปรโตคอลที่ทำงานใน OSI Model Data Link Layer,Network Layer,Transport Layer

1.Data Link Layer   SDLC (Synchronous Data Link Protocol)    HDLC (High-level Data Link Control) SLIP (Serial Line Interface Protocol)   PPP (Point-to-Point Protocol) 2.Network Layer IPv4/IPv6   Internet Protocol CLNP  Connectionless-mode Network Service DDP   Datagram Delivery Protocol 3.Transport Layer ATP   AppleTalk Transaction Protocol FCP   Fibre Channel Protocol UDP   User Datagram Protocol

SNMP(Simple Network Management Protocol)

รูปภาพ
20. SNMP( Simple Network Management Protocol ) อ้างอิงจาก http://www.mindphp.com/images/Hosting_Directadmin/SNMP-Managementkonsole.PNG ทำหน้าที่รวบรวมและจัดเรียงข้อมูลเกี่ยวกับอุปกณ์ในระบบ IP Network เมื่ออุปกรณ์เหล่านั้นมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลไปจากเดิม อุปกรณ์ที่รองรับ SNMP ตัวอย่างเช่น modems ,  router ,  switch , servers, workstations, printers และ อุปกรณ์ด้าน IT อื่นๆ SNMP มีการอย่างแพร่หลายสำหรับทำ network management หรือระบบการ monitoring โดน SNMP จะเก็บข้อมูลในรูปแบบตัวแปรและจัดการโดย management information base (MIB) ซึ่งเป็นที่เก็บข้อมูลหรือ database สำหรับการจัดการหรือเปลี่ยนแปลงค่าต่างๆบนอุปกรณ์ใน network ณ ตอนนี้มี SNMP ออกมาถึง 3 version โดย SNMPv1 เป็น protocol รุ่นแรก และถูกพัฒนาต่อเป็น SNMPv2c และ SNMPv3 ตามลำดับ เพื่อเพิ่มขึดความสามารถ ความยื่ดหยุ่นในการใช้งานรวมถึงระบบ security

SIP ( Session Initiation Protocol )

รูปภาพ
19. SIP ( Session Initiation Protocol ) อ้างอิงรูปจาก https://www.metaswitch.com/knowledge-center/reference/what-is-session-initiation-protocol-sip    Session Initiation Protocol (SIP)  คือ โพรโทคอลหรือเกณฑ์วิธีเพื่อใช้งานด้านมัลติมีเดีย เช่น การส่งข้อมูลเสียงหรือวีดีโอบนเครือข่าย IP ได้รับการพัฒนาโดย IETF และ SIP ถือว่าเป็นโพรโทคอลที่เหนือกว่าโพรโทคอลอื่นในแง่ของการที่สามารถปรับใช้และนำไปพัฒนาได้ง่ายกว่า โดยตัวโพรโทคอลเองมีความสามารถในการสร้าง (create) , ปรับ (modify) และ ยกเลิก (terminate) การติดต่อสื่อสารระหว่างโหนดที่เป็นแบบหนึ่งต่อหนึ่ง (unicast) หรือแบบกลุ่ม (multicast) ได้  ยกตัวอย่าง เช่น การเชื่อมต่อโทรศัพท์ผ่านอินเทอร์เน็ต การกระจายภาพและเสียง และการประชุมทางไกลแบบแสดงภาพและเสียง เป็นต้น การรับส่งข้อมูลของ SIP ในรูปแบบข้อความตัวอักษร(Text-Based Protocol) เช่นเดียวกันกับ Hypertext Transfer Protocol(HTTP) หรือ Simple Mail Transfer Protocol(SMTP)  SIP ทำงานอยู่บน Application Layer  และใช้ TCP หรือ UDP ในการทำงานรับส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

TELNET

รูปภาพ
18. TELNET อ้างอิงรูป https://www.fs.com/which-client-software-is-better-for-telnet-and-ssh-aid-600.html ซึ่งเป็นการขอเข้าใช้เครื่องคอมพิวเตอร์จากระยะไกล ผู้ใช้นั้นสามารถขอเข้าใช้ได้ขอแค่ติดต่อเครือข่ายที่ได้รับอนุญาต โดยไม่จำเป็นว่าต้องนั่งอยู่หน้าเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนั้น การขอใช้นั้น ผู้ใช้จะป้อนคำสั่งที่เครื่องของตัวเองไปยังเครื่องที่เราขอเข้าใช้ แล้วผลก็จะกลับมาแสดงที่หน้าจอเรา เทลเน็ตเป็นชื่อของโพรโทคอลที่ใช้ในการจำลองเทอร์มินัลผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นโพรโทคอลในชุด TCP/IP และเทลเน็ตก็เป็นชื่อของโปรแกรมที่ให้เราสามารถใช้คอมพิวเตอร์จากระยะไกลได้ ถ้าเราได้รับอนุญาตจากเจ้าของเครื่อง

AppleTalk

รูปภาพ
17. AppleTalk อ้างอิงรูป http://www.technologyuk.net/telecommunications/networks/appletalk.shtml จุ ดเริ่มต้นของโปรโตคอล  AppleTalk  เกิดขึ้นในปีค.ศ. 1983  ซึ่งเป็นช่วงที่บริษัท  Apple Computer   เพื่อใช้ในเครือข่ายของเครื่องคอมพิวเตอร์  Apple  ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ  Mac OS  ซึ่งมีจุดเด่น คือ สามารถเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายได้ง่ายโดยไม่ต้องซื้ออุปกรณ์หรือซอฟต์แวร์เครือข่ายมาเพิ่มเติม แต่ข้อจำกัดคือใช้ในเครือข่ายที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์  Apple  เท่านั้น

DNS ( Domain Name System)

รูปภาพ
1 6 . DNS ( Domain Name System)                           อ้างอิงจาก.  https://www.haproxy.com/support/technical-notes/an-0047-en-load-balancing-dns-service/ 1.  โปรโตคอลเชื่อมโยงเครือข่ายแบบที่ใช้โปรโตคอล  TCP/IP  นั้นเครื่องเซิร์ฟเวอร์และเครื่องลูกข่ายทุกตัวจะต้องมีหมายเลขที่ใช้ในการ ระบุตัวเองคล้ายกับชื่อ-นามสกุลของคนเรา          2. IPAddress  เขียนในลักษณะ 203.154.126.134 การจดจำ  IP Address  เป็นสิ่งที่ทำได้ยากกว่าการจำชื่อของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นจึงเกิดการสร้างเซิร์ฟเวอร์ที่จะให้บริการการสอบถามชื่อเครื่องและ  IP Address 3.   เครือข่ายอินเตอร์เน็ตขึ้นมาซึ่งเรียกว่า   Domain Name Services   ในการใช้งานนั้นผู้ใช้เพียงแต่ระบุ   IP Address

NetBEUI (NetBIOS Extended User Interface)

รูปภาพ
15. NetBEUI (NetBIOS Extended User Interface)                                                                     อ้างอิงจาก.  http://wakeupbio.blogspot.com/2017/ 1.  โปรโตคอลที่เหมาะสำหรับระบบ เครือข่ายขนาดเล็กเนื่องจากโปรโตคอลนี้ใช้วิธีกระจายสัญญาณไปทั่วทั้งเครือข่ายไม่สามารถหาเส้นทาง ( route)     2.  รูปแบบส่งผ่านไปยังคอมพิวเตอร์ที่ร้องขอข้อมูลได้ ข้อดีของโปรโตคอลนี้คือการติดตั้งซอฟต์แวร์เครือข่ายไม่ยุ่งยากซับซ้อน

ICMP (Internet Control Message Protocol)

รูปภาพ
1 4 . ICMP (Internet Control Message Protocol)                         อ้างอิงจาก.  https://blog.securityevaluators.com/icmp-the-good-the-bad-and-the-ugly-130413e56030 1.  โปรโตคอลตัวหนึ่งในชุดของ  TCP/IP  ซึ่งมักถูกใช้งานโดยผู้ดูแลระบบเครือข่ายรวมทั้งยังสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการตรวจสอบการทำงานผิดพลาดของระบบเครือข่าย 2.    เป็นโปรโตคอลขนาดเล็กดังนั้นสามารถนำมาใช้สะท้อนประสิทธิภาพการสื่อสารของตัวโหนดได้โดยการ    ตรวจวัดเวลาการตอบสนองของ    ICMP 3.    รายงานความผิดพลาด หรือรายงานสภาวะของเครือข่าย และนำไปปรับปรุงประสิทธิภาพและการทำงานของเครือข่ายได้โดยระบบจัดการเครือข่ายหรือผู้ดูแลระบบ

RARP (Reverse Address Resolection Protocol)

รูปภาพ
13. RARP (Reverse Address Resolection Protocol)                                                         อ้างอิงจาก.  http://protocol6.blogspot.com/2017/09/rarp.html 1.    เป็นโปรโตคอล ซึ่งเครื่องทางกายภาพ ในเครือข่าย  LAN  สามารถขอเรียนรู้  IP Address  จากเครื่องแม่ข่าย  gateway 2. ตาราง  Address Resolution Protocol  ผู้บริหารเครือข่ายสร้างตารางใน  gateway router  ของเครือข่าย  LAN  ที่ใช้จับคู่  address  ของเครื่องทางกายภาพ 3.  โ ปรแกรมลูกข่ายของ   RARP   จะขอ   RARP server   จาก   router ให้ส่ง   IP address   มาให้ สมมติว่ามีการตั้งค่าในตาราง   router   แล้ว   RARP server   จะส่งกลับ   IP address

ARP (Address Resolution Protocol)

รูปภาพ
12.   ARP (Address Resolution Protocol)       รูปอ้างอิง  https://1.bp.blogspot.com/- LgV6N8Gk4l8/U48GmXzfH8I/AAAAAAAABWg/00wmoE2E0MI/s1600/image19.png                               เป็นโปรโตคอลสำหรับการจับคู่ ( map)  ระหว่าง  Internet Protocol address (IP address)  กับตำแหน่งของอุปกรณ์ในระบบเครือข่าย เช่น  IP  เวอร์ชั่น  4  ใช้การระบุตำแหน่งขนาด  32  บิต ใน  Ethernet  ของระบบใช้การระบุ ตำแหน่ง  48  บิต (การระบุตำแหน่งของอุปกรณ์รู้จักในชื่อของ  Media Access Control  หรือ  MAC address)  ตาราง  ARP  ซึ่งมักจะเป็น  cache  จะรักษาการจับคู่ ระหว่าง  MAC address  กับ  IP address  โดย  ARP  ใช้กฎของโปรโตคอล สำหรับการสร้างการจับคู่และแปลงตำแหน่งทั้งสองฝ่าย                                                   

DHCP(Dynamic Host Configuration Protocol)

รูปภาพ
11.DHCP(Dynamic Host Configuration Protocol)    รูปอ้างอิงจาก https://saixiii.com/what-is-dhcp/ มันคือมาตรฐานของ  network protocol  ที่ใช้บน  Internet Protocol (IP) network  โดนควบคุมผ่าน  DHCP server  เพื่อแจกจ่ายค่า  configuration  ของ  network  ให้กับ  host  ที่อยู่ภายใต้วง  network  เดียวกัน เช่น  IP, Subnet, Gateway  ส่วนใหญ่  router  จะมีคุณสมบัติของการเป็น  DHCP server  อยู่แล้วด้วย ทำให้  computer  หรือ  PC  ภายในบ้าน สามารถเชื่อมต่อไปยัง  router  ได้โดยใช้  DHCP  ในการแจกจ่ายค่า  IP address  โดยมี่เราไม่ต้อง  configure  ค่าลงไปที่  host  เองทั้งหมด ช่วยลดภาระการทำงานของผู้ดูแลระบบ  network  ด้วยในการไล่  configure  ค่า  network  ทุก  host  ในระบบ                                                               

IPX/SPX(Internetwork Packet Exchange (IPX) และ Sequenced Packet Exchange (SPX) )

รูปภาพ
10.   IPX/SPX (Internetwork Packet Exchange (IPX)  และ  Sequenced Packet Exchange (SPX) ) รูปอ้างอิงจาก   https://slideplayer.com/slide/5372363/17/images/22/IPX%2FSPX+Internetwork+Packet+Exchange%2FSequenced+Packet+Exchange+%28IPX%2FSPX%29+Protocol+originally+developed+by+Xerox..jpg โดยโปรโตคอลทั้งสองตัวนี้จะทำงานประสานกันทุกครั้ง ซึ่งโปรโตคอลทั้งสองตัวนี้ได้รับการพัฒนามาจาก  Novell  โดยบริษัทนี้ได้นำโปรโตคอล  XNS  ของบริษัท  Xerox Corporation  มาพัฒนาต่อจนกลายเป็น  IPX/SPX  หลักการทำงานของโปรโตคอล  IPX/SPX  ถ้าจะเปรียบเทียบให้เห็นภาพก็ต้องแยกออกมาเป็นโปรโตคอล  2  ตัวด้วยกันคือ  Internetwork Packet Exchange (IPX)  ทำหน้าที่เหมือนกับพนักงานคัดแยะเอกสาร ซึ่งหน้าที่ของโปรโตคอลตัวนี้จะทำการหาปลายทางในการส่งและติดต่อกับผู้ส่ง โดยทำงานในระดับ  Network Layer  โดยทำงานอยู่ในเลย์เยอร์ที่  3  ตามมาตรฐานของ  OSI Model  โดยโปรโตคอล  IPX  นี้จะทำงานแบบ  connectionless  และ  unreliable  ซึ่งการทำงานแบบนี้ไม่จำเป็นต้องมีการเชื่อมต่อกับเครื่องที่ติดต่อกันอย่างถาวรหรือตลอดเวลา

TCP/IP (Transfer Control Protocol / Internet Protocol)

รูปภาพ
9. TCP/IP  ( Transfer Control Protocol / Internet Protocol )        รูปอ้างอิง:http://members.tripod.com/frenchwhales_site/winsockt/1-1.gif คือ ชุดของโปรโตคอลที่ถูกใช้ในการสื่อสารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต   โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถใช้สื่อสารจากต้นทางข้ามเครือข่ายไปยังปลายทางได้และสามารถหาเส้นทางที่จะส่งข้อมูลไปได้เองโดยอัตโนมัติ   การที่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกเชื่อมโยงกันไว้ในระบบ    จะสามารถติดต่อสื่อสารกันได้นั้น จำเป็นจะต้องมีภาษาสื่อสารที่เรียกว่า โปรโตคอล ( Protocol )  ซึ่งในระบบ Internet  จะใช้ภาษาสื่อสารมาตรฐานที่ชื่อว่า  TCP/IP  เป็นภาษาหลัก ดังนั้นหากเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะเป็นเครื่องระดับไมโครคอมพิวเตอร์ มินิคอมพิวเตอร์ หรือเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ก็สามารถเชื่อมโยงเข้าสู่อินเทอร์เน็ตได้